ความปลอดภัยในงานอาชีพ
ลด 33%
฿101 ฿150
ประเภทหนังสือ :
อีบุ๊ก
ผู้แต่ง : บุญธรรม ภัทราจารุกุล
สำนักพิมพ์ : SE-ED
ISBN : 9786160813995
ภาษา : ไทย
จำนวนหน้า : 190
ขนาดไฟล์ : 30.08 MB
ผู้แต่ง : บุญธรรม ภัทราจารุกุล
สำนักพิมพ์ : SE-ED
ISBN : 9786160813995
ภาษา : ไทย
จำนวนหน้า : 190
ขนาดไฟล์ : 30.08 MB
ความปลอดภัยในงานอาชีพ
มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับความปลอดภัยในงานต่างๆ ของช่างเครื่องกล สภาพแวดล้อมในการทำงาน สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ การช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สัญลักษณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย และกฎหมายความปลอดภัย
ผู้เขียน บุญธรรม ภัทราจารุกุล
นำเสนอเนื้อหาด้านความปลอดภัยในการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นหลักปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบของอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแล้ว ซึ่งความสำคัญของความปลอดภัยสามารถแบ่งออกได้ 3 เหตุผลหลัก คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย และด้านคุณธรรม ซึ่งทุกองค์กรมีหน้าที่ในการดูแล เพื่อให้แน่ใจว่าคนงานและบุคลากรทุกๆ คนที่อาจจะได้รับผลกระทบจากการทำงาน ยังคงปลอดภัยอยู่ตลอดเวลา เพราะเมื่อคนงานมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีความปลอดภัยในที่ทำงาน จะทำให้คนงานทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ จึงสามารถช่วยลดการสูญเสียผลการผลิต และลดการเสียหายของเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ เพื่อเป็นกำลังใจให้กับคนงาน และเกิดความรักในองค์กรที่ตนทำงาน
เนื้อหาวิชาความปลอดภัยในงานอาชีพ รหัส 2001 – 1007 เป็นวิชาในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาหลักความปลอดภัยในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีพ สาขาเครื่องกล เช่น เครื่องต้นกำลัง เครื่องจักรกล เครื่องมือกล ปั้นจั่น หม้อไอน้ำ การเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยมือ ระบบไฟฟ้า และกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน เป็นต้น
สารบัญ
บทที่ 1 วิศวกรรมความปลอดภัย (Safety Engineering)
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมในการทำงาน (Working Environment)
บทที่ 3 อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment (PPE))
บทที่ 4 สัญลักษณ์ความปลอดภัย (Safety Symbols)
บทที่ 5 ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร (Safety in Working with Machinery)
บทที่ 6 ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องมือกล (Safety in Working with Machine Tool)
บทที่ 7 ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น (Safety in Working with Cranes)
บทที่ 8 ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับหม้อไอน้ำ (Safety in Working with Boilers)
บทที่ 9 ความปลอดภัยในการเคลื่อนย้ายด้วยมือ (Safety in Manual Handling)
บทที่ 10 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า (Safety in Electrical)
บทที่ 11 กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน