ลด 38%

฿279 ฿450
ประเภทหนังสือ : อีบุ๊ก
ปีที่พิมพ์ : 2560
ผู้แต่ง : พุทธิมา เกิดศิริ
สำนักพิมพ์ : DHARMNITI
ISBN : 976-616-302-131-1
ภาษา : thai
จำนวนหน้า : 564
ขนาดไฟล์ : 8.45 MB
ในบทความ “บัญชีการเงินและบัญชีภาษีอากร ความเหมือนที่แตกต่าง” ซึ่งตีพิมพ์ลงในวารสารเอกสารภาษีอากร และเมื่อต้องเรียบเรียงบทความให้เป็นหนังสือ ผู้เขียนก็ยังคงยึดถือหลักการเดิมคือพยายามทำให้เป็นหนังสือวิชาการที่ท่านผู้อ่านสามารถเข้าใจได้โดยง่าย แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะอธิบายศาสตร์ ทั้ง 2 ศาสตร์ได้แก่วิชาการบัญชีและวิชากฎหมายภาษีอากร ซึ่งล้วนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับว่ามีความยากและความซับซ้อน อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนได้พยายามทำลายกำแพงความยากของเนื้อหา ด้วยการหยิบยกตัวอย่างและเทคนิคจากประสบการณ์วิชาชีพของผู้เขียน มาอธิบายให้ท่านผู้อ่านได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการทางด้านภาษีอากรได้โดยถูกต้องและชอบด้วยกฎหมาย คำนำ “ความเข้าใจง่าย” เป็นวัตถุประสงค์หลักที่ผู้เขียนต้องการให้มีในบทความ “บัญชีการเงินและบัญชีภาษีอากร ความเหมือนที่แตกต่าง” ซึ่งตีพิมพ์ลงในวารสารเอกสารภาษีอากร และเมื่อต้องเรียบเรียงบทความให้เป็นหนังสือ ผู้เขียนก็ยังคงยึดถือหลักการเดิมคือพยายามทำให้เป็นหนังสือวิชาการที่ท่านผู้อ่านเข้าใจได้โดยง่าย แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะอธิบายศาสตร์ทั้ง 2 ศาสตร์ได้แก่วิชาการบัญชีและวิชากฎหมายภาษีอากร ซึ่งล้วนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับว่ามีความยากและความซับซ้อน อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนได้พยายามทำลายกำแพงความยากของเนื้อหา ด้วยการหยิบยกตัวอย่างและเทคนิคจากประสบการณ์วิชาชีพของผู้เขียน มาอธิบายให้ท่านผู้อ่านได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการทางด้านภาษีอากรได้โดยถูกต้องและชอบด้วยกฎหมาย และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาด้านภาษีอากรของท่านต่อไป ความดีของหนังสือเล่มนี้ผู้เขียนขอมอบแด่คุณบิดามารดาและคุณครูบาอาจารย์ที่ได้กรุณาอบรมสั่งสอนความรู้ในวิชาชีพทั้ง 2 แขนงนี้มาโดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านอาจารย์วิชัย จึงรักเกียรติ ที่ท่านได้กรุณาให้คำแนะนำที่มีค่าและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในขณะที่ผู้เขียนได้เขียนบทความทั้ง 40 ตอน หากมีข้อเสนอแนะนำไปปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น พุทธิมา เกิดศิริ สารบัญ Section 1 บทนำ Section 2 รายได้ที่ให้ถือเป็นรายได้ในทางภาษีอากร Section 3 รายได้ที่ได้รับยกเว้นได้ทางภาษีอากร Section 4 รายจ่ายที่ให้ถือเป็นรายจ่ายเพิ่มในทางภาษีอากร Section 5 รายจ่ายที่ไม่ให้นำมาถือเป็นรายจ่ายทางภาษีอากร

เขียนรีวิว

โปรดเข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียนเพื่อรีวิว
หนังสือที่เกี่ยวข้อง