แลหลังคำ เขมร-ไทย
฿365
ประเภทหนังสือ :
อีบุ๊ก
ผู้แต่ง : รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ
สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มติชน
ISBN : 978-974-02-1687-2
ภาษา : thai
จำนวนหน้า : 378
ขนาดไฟล์ : 35.31 MB
ผู้แต่ง : รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ
สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มติชน
ISBN : 978-974-02-1687-2
ภาษา : thai
จำนวนหน้า : 378
ขนาดไฟล์ : 35.31 MB
ภาษาไทยไม่ได้เกิดขึ้นอย่างลอยๆ ไม่มีที่มาที่ไป แต่เกิดจากการผสมผสานของหลากหลายภาษา และภาษาเขมรโบราณก็เป็นหนึ่งในนั้น หนังสือเล่มนี้จะพาเราร่วมสำรวจที่มาของคำยืมภาษาเขมร ตั้งแต่แรกเริ่มรับภาษามาใช้ ไล่เรียงลำดับพัฒนาการทางภาษา และสืบหาความหมายดั้งเดิมของคำยืมภาษาเขมรที่คนไทยใช้กันจนชิน
เคยบ้างไหม ที่พบคำศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ทุกวันจนชิน แต่ไม่รู้ว่าความหมายจริงๆ แปลว่าอะไร? มันไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร ที่เราจะพบเจอกับคำศัพท์ที่เราแปลความหมายไม่ได้ หรือเราใช้บ่อยแต่ไม่รู้ว่าความหมายจริงๆ คืออะไร เพราะภาษาไทยไม่ได้เกิดขึ้นอย่างลอยๆ ไม่มีที่มาที่ไป แต่เกิดจากการผสมผสานของหลากหลายภาษา โดยมีภาษาเขมรโบราณเป็นหนึ่งในนั้น
นับตั้งแต่อดีตกาล อาณาจักรเขมรโบราณมีอิทธิพลเหนือรัฐโบราณในดินแดนไทย ผู้คนที่อาศัยอยู่จึงรับเอาวัฒนธรรมของเขมรโบราณมาใช้ ทั้งปราสาทหิน พิธีกรรม ศาสนา รวมไปถึงภาษา จนผสมกลมกลืนไปเป็นวัฒนธรรมของผู้คนในบริเวณดินแดนไทย ก่อนที่ภายหลังเราจะเรียกวัฒนธรรมที่ผสมผสานแล้วว่า "วัฒนธรรมไทย"
"แลหลังคำเขมร-ไทย" หนังสือรวมบทความของ "รศ.ดร. ศานติ ภักดีคำ" จะพาเราร่วมสำรวจที่มาของคำยืมภาษาเขมร ตั้งแต่แรกเริ่มรับภาษามาใช้ พาไปลำดับไล่เรียงพัฒนาการทางภาษา และสืบหาความหมายดั้งเดิมของคำยืมภาษาเขมรที่คนไทยใช้กันจนชิน
สารบัญ
ภาคที่ 1 เหตุใดไทยจึงยืมภาษาเขมร : อิทธิพลภาษาเขมรในไทย
1 เขมรโบราณในประเทศไทย : ที่มาของการใช้ภาษาเขมรโบราณในดินแดนไทย
2 ความสัมพันธ์เขมรโบราณกับสุโขทัยและอยุธยา : ที่มาของคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
ภาคที่ 2 คลำหาคำ : สืบที่มาคำไทยในภาษาเขมรโบราณ
3 "เขมร" และ "ขอม" จากภาษาเขมรโบราณสู่การรับรู้ของไทย
4 พระนามกษัตริย์เขมรโบราณในพระนามกษัตริย์ไทย
5 จากยศตำแหน่งเขมรโบราณสู่ยศตำแหน่งขุนนางไทย
6 ศัพท์ศษสนาที่มาจากภาษาเขมรโบราณ
7 ศัพท์เล็กเกร็ดน้อยจากภาษาเขมรโบราณ